Skip to content

ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย by หมอแอมป์ [Dr.Amp Podcast] | ความเครียดในผู้สูงอายุ วิจัย

ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย by หมอแอมป์ [Dr.Amp Podcast]


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่

สังคมปัจจุบันทำให้เราต่างมีความเครียดสะสมเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว จนส่งผลให้ระบบการทำงานอื่นๆ ของร่างกายอ่อนแอลง เปรียบได้เสมือนภัยเงียบที่ส่งผลต่อสุขภาพของเรา
มารู้จักกับฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับความเครียด ทั้ง คอร์ติซอล (Cortisol) ฮอร์โมนแห่งความเครียด และ ดีเอชอีเอ (DHEA) ฮอร์โมนต่อต้านความเครียด พร้อมเคล็ดลับในการคลายเครียดได้ใน Podcast นี้เลย
รายการ Dr.Amp Podcast เรื่องเล่าสุขภาพดี กับ หมอแอมป์
ตอน \”ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย\” โดย นพ. ตนุพล วิรุฬหการุญ
ประธานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ และ ผู้อำนวยการ BDMS Welness Clinic
ผู้อำนวยการ RoyalLife โรงพยาบาลกรุงเทพ
นายกสมาคมแพทย์ฟื้นฟูสุขภาพและส่งเสริมการศึกษาโรคอ้วน กรุงเทพ (BARSO)
🌐http://www.dramp.com
➡️Instagram: DrAmp Team
➡️Spotify: Dr.Amp Team
© drampCopyright 2020
==========
เทปนี้มีลิขสิทธิ์ ห้ามนำไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต มีผลในทางกฏหมาย
ปล.เป็นคลิปให้คำแนะนำแก่ผู้รักสุขภาพที่ยังไม่ป่วยและต้องการป้องกันโรคให้ตัวเอง สำหรับผู้ที่มีโรคแล้วยังไม่ควรทำตามและควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวก่อนนะครับ ด้วยความปรารถนาดีจาก หมอแอมป์
==========
แหล่งอ้างอิง ตอน ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย กับ หมอแอมป์
1.ตนุพล วิรุฬหการุญ. สุขภาพดี อายุ100ปี คุณก็มีได้. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ฟรีมายด์ พับลิชชิ่ง จำกัด; 2561.
2.Morey JN, Boggero IA, Scott AB, Segerstrom SC. Current directions in stress and human immune function. Current opinion in psychology. 2015;5:137.
3. Epel E, Daubenmier J, Moskowitz JT, Folkman S, Blackburn E. Can meditation slow rate of cellular aging? Cognitive stress, mindfulness, and telomeres. Annals of the New York Academy of Sciences. 2009;1172:34.
4. Davidson RJ, KabatZinn J, Schumacher J, et al: Alterations in brain and immune function produced by mindfulness meditation. Psychosom Med 65(4):564–570, 2003.
5. Turakitwanakan W, Mekseepralard C, Busarakumtragul P. Effects of mindfulness meditation on serum cortisol of medical students. J Med Assoc Thai. 2013;96(Suppl 1): S905.
6. Black DS, Slavich GM. Mindfulness meditation and the immune system: a systematic review of randomized controlled trials. Annals of the New York Academy of Sciences. 2016;1373(1):13.
7. Fang CY, Reibel DK, Longacre ML, et al: Enhanced psychosocial wellbeing following participation in a mindfulnessbased stress reduction program is associated with increased natural killer cell activity. J Altern Comp Med 16(5):531–538, 2009.
8. Bateson M, Aviv A, Bendix L, Benetos A, BenShlomo Y, Bojesen SE, et al. Smoking does not accelerate leucocyte telomere attrition: a metaanalysis of 18 longitudinal cohorts. Royal Society open science. 2019;6(6):190420.
9. Shammas MA. Telomeres, lifestyle, cancer, and aging. Current opinion in clinical nutrition and metabolic care. 2011;14(1):28.
หมอแอมป์ ความเครียด สุขภาพดี เวชศาสตร์ชะลอวัย

ความเครียด ภัยเงียบร้ายทำลายร่างกาย by หมอแอมป์ [Dr.Amp Podcast]

บทสวดโพชฌังคปริตร เพื่อบำบัดโรคภัยไข้เจ็บ (บทสวดและความหมาย) I Dekwat Channel


บทสวดโพชฌงค์ (โพชฌังคปริตร) พุทธมนต์เพื่อบำบัดโรคภัยไข้เจ็บ
บทสวดนี้เป็นบทสวดสำคัญที่พระสงฆ์นิยมนำมาสวดในงานทำบุญคล้ายวันเกิด หรือสวดเพื่อสร้างกำลังใจให้แก่ผู้ที่เจ็บไข้ได้ป่วยให้มีพลังจิตในการสร้างสติขึ้นซึ่งบทนี้จะเกิดอานุภาพมากหากประกอบกับการบำเพ็ญจิตเจริญภาวนาควบคู่ไปด้วย
การที่เชื่อกันว่าบทสวดมนต์นี้มีความศักดิ์สิทธิ์ก็เพราะ มีเรื่องในพระไตรปิฎกเล่าว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้เสด็จไปเยี่ยมพระมหากัสสปะที่อาพาธอยู่ได้รับความทุกข์ทรมานมาก พระองค์จึงทรงแสดงบทสวดโพชฌงค์แก่พระมหากัสสปะให้ท่านได้ฟังและน้อมจิตปฏิบัติตาม
หลังจากฟังบทสวดและท่านพระมหากัสสปะได้พิจารณาธรรมตามก็พบว่า ท่านสามารถหายจากโรคได้ และอีกครั้งหนึ่งพระองค์ได้ทรงแสดงธรรมบทนี้แก่พระโมคคัลลานะซึ่งอาพาธอยู่ในลักษณะเดียวกัน หลังจากนั้นก็พบว่า พระโมคคัลลานะก็หายจากอาพาธได้
และเรื่องราวที่สำคัญที่สุดก็คือ เมื่อครั้งที่พระพุทธองค์เองทรงอาพาธ จึงตรัสให้พระจุนทะเถระแสดงโพชฌงค์ถวาย ซึ่งพบว่าพระพุทธเจ้าก็หายประชวร พุทธศาสนิกชนจึงพากันเชื่อว่า โพชฌงค์นั้น สวดแล้วช่วยให้หายโรค

หากผิดพลาดประการใด ทีมงานผู้จัดทำขออภัยมา ณ ที่นี้

หากท่านใดชอบ อย่าลืมกดถูกใจ หากใช่กดแชร์
และหากอยากติดตามวิดีโอใหม่ๆ อย่าลืมกด Subscribe นะครับ
โพชฌงค์ โพชฌังคปริตร เด็กวัดชาแนล

บทสวดโพชฌังคปริตร เพื่อบำบัดโรคภัยไข้เจ็บ (บทสวดและความหมาย) I Dekwat Channel

โมดูลที่ 2 Clip 19 – ปัญหาสุขภาพจิต และการจัดการความเครียด


Module2 Clip19
โมดูลที่ 2 จิตวิทยากับการเข้าใจตนเอง (สุขภาพกาย และสุขภาพจิต)
Clip 17 แนะนำเนื้อหาของสัปดาห์นี้
Clip 18 บทนำ ประโยชน์ของการดูแลสุขภาพกาย และการดูแลตนเองด้วยหลักการ REDS
Clip 19 ปัญหาสุขภาพจิต และการจัดการความเครียด

โมดูลที่ 2 Clip 19 - ปัญหาสุขภาพจิต และการจัดการความเครียด

ดูแลตัวเองก่อนสูงวัย“โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ” : พบหมอรามา ช่วง Rama Health Talk 2 พ.ย.61(4/6)


Rama Health Talk
ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
ดูแลตัวเองก่อนสูงวัย เช็กอาการ “โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ” เรื่องใกล้ตัวที่คนใกล้ชิดต้องใส่ใจ
ผศ. พญ.สิรินทร ฉันศิริกาญจน
สาขาวิชาเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ภาควิชาอายุรศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
อ. พญ.อรพิชญา ไกรฤทธิ์
ภาควิชาอายุรศาสตร์
ติดตามรายการได้ทุกวันจันทร์ศุกร์ ออกอากาศสดผ่าน Facebook Fanpage เวลา 12.0013.00 น. โดยคุณผู้ชมสามารถรับชมรามาแชนแนลได้ที่ช่อง True Visions 42 หรือ ทางเว็บไซต์ http://www.ramachannel.tv และ http://www.youtube.com/ramachanneltv
ออกอากาศวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2561

ดูแลตัวเองก่อนสูงวัย“โรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ” : พบหมอรามา ช่วง Rama Health Talk 2 พ.ย.61(4/6)

เราจะช่วยผู้สูงอายุได้อย่างไรไม่ให้รู้สึกเครียดกจนเกินไป


ในกรณีที่ผู้สูงอายุไม่ได้ออกนอกบ้าน จะทำอย่างไรให้ท่านไม่เครียด
.
เราอาจจะต้องฝึกสื่อสารกับท่านให้เยอะขึ้น และลองสร้างกิจกรรมภายในบ้าน สร้างความเชื่อมโยงกับผู้คนใหม่ให้ท่านใหม่ เพี่อลดความเครียดของผู้สูงอายุค่ะ
สามารถดูคลิปย้อนหลังได้ที่ : https://bit.ly/2VJzmOY
.
หมอเอิ้นพิยะดา
จิตแพทย์นักแต่งเพลงรัก
ที่ปรึกษาด้าน ความสัมพันธ์ การสื่อสาร พัฒนาศักยภาพ

ฝากกด subscribe/Like/Share ด้วยนะคะ
▲ กดติดตามเพื่อชมคลิปใหม่ๆ : https://bit.ly/2Ul9Pc5
▲ Page : https://www.facebook.com/earnpiyada/
▲ IG : https://www.instagram.com/earnpiyada/
▲ Website : http://www.earnpiyada.com/

เราจะช่วยผู้สูงอายุได้อย่างไรไม่ให้รู้สึกเครียดกจนเกินไป

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆSales experience

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *