Skip to content

ฟาร์มต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะ | MJU Smart Farming | สถานีตรวจวัดอากาศอัตโนมัติ

ฟาร์มต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะ | MJU Smart Farming


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

สนใจเข้าศึกษาดูงาน ติดต่อ
หน่วยวิจัยสมาร์ทฟาร์มและโซลูชั่นการเกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
โทร.0623956355,0845968545
โครงการฟาร์มต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะและการจัดการฟาร์มอย่างปราดเปรื่อง
โดย ผศ.ดร.โชติพงศ์ กาญจนประโชติ
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ หัวหน้าหน่วยวิจัยสมาร์ทฟาร์มและโซลูชั่นการเกษตร
ฟาร์มต้นแบบแห่งนี้เป็นฟาร์มที่ประยุกต์ใช้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการทำระบบเกษตรแม่นยำบนพื้นฐานของข้อมูล เพื่อลดต้นทุน เพิ่มปริมาณและคุณภาพของผมผลิต สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิต ตลอดจนช่วยบริหารจัดการการใช้ทรัพยากรด้านปัจจัยการผลิตให้มีประสิทธิภาพอย่างสูงสุด
เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในฟาร์มต้นแบบ
1.ระบบให้น้ำอัจฉริยะแบบแม่นยำอัตโนมัติ
2.ระบบผสมปุ๋ยอัตโนมัติ
3.ระบบบันทึกข้อมูลด้วยNFC tag
4.โดรนเพื่อการเกษตรสำหรับการฉีดพ่น
5.โดรนเพื่อการเกษตรสำหรับประเมินสุขภาพพืช
6.ระบบกล้องประเมินการเจริญเติบโต
7.ระบบกล้องทำนายผลผลิต
ฟาร์มต้นแบบ ลำไยอินทรีย์แม่โจ้

ฟาร์มต้นแบบสวนลำไยอินทรีย์อัจฉริยะ | MJU Smart Farming

สถานีวัดอากาศอัตโนมัติ


วิทย์ฯ .. สถานีวัดอากาศอัตโนมัติ ออกอากาศวันเสาร์ที่ 24 กันยายน 2554 ทางไทยพีบีเอส

สถานีวัดอากาศอัตโนมัติ

ไปทำความรู้จักสถานีตรวจวัดอากาศ \”อุตุน้อย\”


นักวิจัยเนคเทค สวทช. พัฒนา สถานีตรวจวัดสภาพอากาศ อุตุน้อย นำไปติดตั้งให้กับโรงเรียนทั่วประเทศ นอกจากมีเป้าหมายเพื่อเก็บและรวบรวมข้อมูลสภาพอากาศในแต่ละพื้นที่แล้ว \”อุตุน้อย\” จะเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และภูมิศาสตร์สำหรับนักเรียน

ไปทำความรู้จักสถานีตรวจวัดอากาศ \

วิกฤตไหน ก็ช่วยทัน ด้วยนวัตกรรมตรวจสภาพอากาศอัตโนมัติ : รู้เท่ารู้ทัน (11 พ.ย. 63)


บ่อยครั้งที่อุปสรรคการเข้าช่วยเหลือผู้ประสบภัย คือการขาดการติดต่อสื่อสาร ทำให้เจ้าหน้าที่ไม่อาจทราบข้อมูลปัจจุบันของผู้ประสบภัยและความรุนแรงของภัยได้ ดังนั้น ทางสมาคมวิทยุสมัครเล่นแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ จ.กระบี่ จึงได้จัดทำโครงการต้นแบบสถานีตรวจอากาศอัติโนมัติขึ้น เพื่อสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องประเมินแนวทางป้องกันภัยพิบัติ ระบุพิกัดทีมค้นหา และยังสามารถนำไปช่วยเหลือเกษตรกรวางแผนเพาะปลูกได้อีกด้วย
ติดตามชมช่วงรู้เท่ารู้ทัน ในรายการ \”วันใหม่วาไรตี้\” วันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2563 ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมย้อนหลังได้ทาง http://www.thaipbs.or.th/Rutan

กด Subscribe
ติดตามรายการดีๆของช่อง ได้ที่ : http://shorturl.at/czXZ0
และ ติดตามไทยพีบีเอสออนไลน์ ได้ที่
Website : http://www.thaipbs.or.th
Facebook : http://www.fb.com/ThaiPBSFan
Twitter : http://www.twitter.com/ThaiPBS
Instagram : http://www.instagram.com/ThaiPBS
LINE : http://www.thaipbs.or.th/AddLINE
YouTube : http://www.youtube.com/ThaiPBS

วิกฤตไหน ก็ช่วยทัน ด้วยนวัตกรรมตรวจสภาพอากาศอัตโนมัติ : รู้เท่ารู้ทัน (11 พ.ย. 63)

ตอนที่ 4 – หลักการและการทำงานของระบบ IoT sensors


อธิบายส่วนประกอบของอุปกรณ์ระบบให้น้ำแบบแม่นยำอัจฉริยะ การทำงานของเครื่องผสมปุ๋ย สถานีตรวจวัดสภาพอากาศ กล้องประเมินการเจริญเติบโตของพืชและกับดักแมลง จากผลงานวิจัยของหน่วยวิจัยสมาร์ทฟาร์มและโซลูชั่นการเกษตร คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้

ตอนที่ 4 - หลักการและการทำงานของระบบ IoT sensors

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Wiki

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *