Skip to content

Pulmonary Embolism PART I (Overview) | embolism คือ

Pulmonary Embolism PART I (Overview)


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

http://armandoh.org/
https://www.facebook.com/ArmandoHasudungan
Support me:
http://www.patreon.com/armando
Instagram:
http://instagram.com/armandohasudungan
Twitter:
https://twitter.com/Armando71021105
SPECIAL THANKS:
Patreon members
Artline Australia: http://www.artline.com.au/

Pulmonary Embolism PART I (Overview)

โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในหลอดเลือดปอดเฉียบพลัน ( Pulmonary Embolism ) รพ.รามคำแหง


อาการ
ผู้ปว่ยมักจะมีอาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก (pleuritic pain) บาง
รายมีอาการหน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ
พบไม้บ่อยที่ ผู้ป่วยจะมีอาการไอเป็นเลือดซึ่งเกิดจากการที่มีการตายของเนื้อปอด
พบว่าประมาณครึ่งหนึ่งของผปู้ว่ยไม่มีอาการ หรือมีอาการไม่มาก
การที่จะวินิจฉัยให้ได้จึงขึ้นอยู่กับความสงสัยของแพทย์ผู้ดูแลเป็นสำคัญ ในรายที่มีลิ่มเลือดขนาดใหญ่ไปอุดในหลอดเลือดปอด (massive PE) ผู้ป่วยจะตัวเย็น มีความดันต่ำ ช็อก ร่วมกับมีอาการเขียวคล้ำ (cyanosis)

โรคลิ่มเลือดอุดกั้นในหลอดเลือดปอดเฉียบพลัน  ( Pulmonary Embolism ) รพ.รามคำแหง

อาการหลอดเลือดดำอุดตันจากลิ่มเลือด / Deep Vein Thrombosis : Symptoms


อาการหลอดเลือดดำอุดตันจากลิ่มเลือด
ถ้าท่านมีอายุมากกว่า 60… สูบบุหรี่เป็นประจำ, น้ำหนักตัวเกิน หรือ
มีอาชิพนั่งเป็นเวลานาน…ขอให้ทราบว่า ท่านมีความเสี่ยงต่อการเกิด
โรคได้สูงขึ้น ดังนั้น ท่านควรตื่นตัว ต่ออาการ ที่เป็นสัญญาณให้ทราบ
ว่า ท่านได้เกิดโรคหลอดเลือดดำเกิดการอุดตันจากลิ่มเลือด…
ประมาณครึ่งหนึ่งของคนที่เป็นโรคดังกล่าว ไม่แสดงอาการใด…
อาการของโรคหลอดเลือดดำอุดตันจากลิ่มเลือด
Symptoms of DVT
ท่านต้องไปปรึกษาแพทย์ทันทีเมื่อท่านมีอาการต่อไปนี้…

 เมื่อขาของท่านเกิดบวมขึ้นมา…อาจเป็นด้านเดียว หรือสองข้าง
 ปวด หรือเจ็บในบริเวณขาข้างเดียว หรือทั้งสองข้าง หรือ
เกิดมีอาการในขณะที่ท่านยืน หรือเดิน
 ขาของท่านรู้สึกอุ่น หรือร้อนกว่าปกติ
 ผิวสีของผิวหนังเปลี่ยนไป หรืออาจมีสีแดงปรากฏให้เห็น
เส้นเลือดดำบวม, มีสีแดง, แข็ง หรือมีอาการเจ็บเมื่อไปสัมผัส
ถูก
เมื่อท่านเกิดมีอาการตามที่กล่าว ท่านควรไปพบแพทย์ทันที
ประมาณครึ่งหนึ่งขยองคนที่เกิดหลอดเลือดดำอุดตันจากลิ่มเลือด
จะไม่แสดงอาการใดๆ
หากลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำเกิดแตก และหลุดเข้าสู่กระแสเลือด
ก้อนเลือดที่มีขนาดเล็ก จะหลุดลอยไปตามกระแสเลือด เข้าสู่หัวใจ
และเข้าสู่ปอด มันจะทำให้เกิดมีอาการดังต่อไปนี้
 มีอาการไอทันที ซึ่งอาจมีเลือดออกมา
 เจ็บแน่นหน้าอก
 มีอาการปวดไหล่, แขน, หลัง และกระดูกกราม
 หายใจเร็ว และ หอบ
 วิงเวียน และ
 หัวใจเต้นเร็ว
การที่ลิ่มเลือดเกิดแตก และหลุดไปยังในปอดนั้น เป็นเรื่องที่น่ากลัว
ลองจากกล้ามเนื้อหัวใจ และสมองถูกทำลายจากการาสดเลือด ซึง
สามารถทำลายชีวิตได้ โดยมีรายงานออกมาว่า ในจำนวนคนที่เป็น
โรคดังกล่าว หนึ่งร้อยคนจะเสียชีวิตอย่างฉับพลันได้หนึ่งคน

การเกิดการอุดตันของหลอดเลือดดำจากลิ่มเลือด อาจไม่มีอาการใดๆ
ก็ได้ มารู้อีกทีก็ต่อเมื่อเกิดมีอาการของการอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
จากลิ่มเลือดขึ้น…

อาการหลอดเลือดดำอุดตันจากลิ่มเลือด / Deep Vein Thrombosis :  Symptoms

ป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด / Preventing Deep Vein Thrombosis


ป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด
มีความจริงอย่างหนึ่งที่เราควรทราบ นั้นคือ การไหลเวียนของเลือด
จากขา หรือแขนสู่หัวใจเพื่อนำไปฟอกในปอดนั้น ไม่ได้เกิดจากการบีบตัวของหัวใจเลย เป็นเกิดจากความต่างของรวมดันเลือดในเส้น
เลือดดำระหว่างหัวใจ และที่ส่วนปลายของร่างกาย เช่น ขา หรือแขน
ประการที่สอง เป็นเพราะการหายใจซึ่งมีการขยายตัวของรวงอก และ
ท้อง ตลอดรวมไปถึงการบีบตัวของกล้ามเนื้อของขา และแขน
หากมีมีความผิดปกติในสิ่งที่กล่าวมา ย่อมเป็นเหตุให้เกิดการแข็งตัว
ของเลือดภายในหลอดเลือดดำได้
นอกเหนือไปจากนั้น…
การแข็งตัวของลิ่มเลือดที่เกิดในหลอดเลือดที่อยู่ลึกลงไปภายใน
ร่างกายของคนเรานั้น เป็นผลเนื่องมาจากการจับตัวของไฟบริน
และเม็ดเลือดเสียเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่ามันสามารถเกิดขึ้นในส่วน
ต่างๆ ของร่างกายได้ก็ตาม เช่น เส้นเลือดดำในแขน, ในกะโหลก
ศีรษะ, ตับ แต่ส่วนใหญ่จะพบในเส้นเลือดดำของขา โดยเป็นผลมา
จากการรวมตัวของปัจจัยสามอย่าง (Virchow’s triad) นั้นคือ
1. การไหลเวียนของเลือดช้าลง – venous stasis ซึ่งส่วนใหญ่
เป็นผลจากกการไม่เคลื่อนไหวนานเกิน 48 ชั่วโมง เช่น ไม่
สบาย, การตั้งครรภ์. ทางนั่งเครื่องบิน
2. ภาวะแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกติ – hypercoagulability
ที่พบได้ในคนที่เป็นโรคมะเร็ง หรือความผิดปกติทางพันธุกรรม
3. หลอดเลือดดำได้รับบาดเจ็บ Vascular damage เช่นพบได้ใน
การผ่าตัด หรือกระดูกแตกหัก
นอกเหนือจากนั้น ยังมีปัจจัยบางอย่าง ที่สามารถเพิ่มความเสี่ยง
ต่อการเกิดการแข็งตัวของเลือดได้ เช่น
 การขาดน้ำ – dehydration ซึ่งมันจะทำให้เลือดข้นขึ้น
ทำให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดแข็งตัว
 การใช้ฮอร์โมน ยกตัวอย่าง การใช้ยาคุม หรือการใช้ฮอ์ร์โมน เพื่อการรักษา จะเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดได้
 การมีน้ำหนักเกิน…สามาระทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ง่าย ทั้งนี้
เพราะเซลล์มันของคนอ้วนจะสร้างการตัวหนึ่งที่ทำให้เกิดมีลิ่มเลือด คือ plasminogen activator inhibitor นั้นเอง
 การมีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจ และเบาหวาน เป็นต้น
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิด หรือลดความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่ม
เลือดได้ สิ่งที่เราควรกระทำ คือ…
 Stay Active \u0026 Regular exercise
 ดื่มน้ำให้มาก
 ควบคุมโรคประจำตัวให้ได้ เช่น โรคเบาหวาน, ความดันสง
 ยาต้านการแข็งตัวของเลือด…Anticoagulants ท่านต้องทาน
ยาตามที่แพทย์สั่ง และมี่การตรวจเลือดเป็นระยะ
 หลีกเลี่ยงจากการใช้ฮอร์โมน
 การสรวมถุงน่อง …Compression Stocking

ป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดในหลอดเลือด / Preventing Deep Vein Thrombosis

Pulmonary Embolism โดยแพทย์หญิงชนกพร ลักขณานุรักษ์


Pulmonary Embolism โดยแพทย์หญิงชนกพร ลักขณานุรักษ์

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Sales experience

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *