Skip to content

การสร้างแบบฟอร์มราการวัสดุ หรือ BOQ ตอนที่ 1 | แบบฟอร์มคัดกรองวัณโรค

การสร้างแบบฟอร์มราการวัสดุ หรือ BOQ ตอนที่ 1


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

การสร้างแบบฟอร์มราการวัสดุ หรือ BOQ ตอนที่ 1
เริ่มจากอะไร ไปดูกันครับ
https://drive.google.com/file/d/17ky4UFhgbjQ3XY7bb8YtKQDNr25fhOc/view?usp=sharing

การสร้างแบบฟอร์มราการวัสดุ หรือ BOQ ตอนที่ 1

วัณโรคระยะแฝง (Latent TB) แตกต่างจาก ผู้ป่วยวัณโรค (Active TB) อย่างไร?


การได้รับเชื้อวัณโรค หรือวัณโรคระยะแฝง Latent TB คือผู้ป่วยมีเชื้ออยู่ในร่างกายแต่ไม่แสดงอาการ ไม่แพร่เชื้อซึ่งมีความแตกต่างจากผู้ป่วยวัณโรค หรือวัณโรคระยะแพร่เชื้อ Active TB

วัณโรคระยะแฝง (Latent TB) แตกต่างจาก ผู้ป่วยวัณโรค (Active TB) อย่างไร?

2 การบริหารจัดการงบป้องกัน HIV งบวัณโรค และงบจิตเวช


2. การบริหารจัดการงบป้องกัน HIV งบวัณโรค และงบจิตเวช
โดยนางสาวภัทราวดี เฉลิมเริ่ม นักบริหารงานหลักประกันสุขภาพ
สปสช.เขต ๑๑ สุราษฎร์ธานี

2  การบริหารจัดการงบป้องกัน HIV งบวัณโรค และงบจิตเวช

เกือบตายเพราะโรควัณโรคดื้อยา |ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาปฏิบัติตัวอย่างไร | กองสุขศึกษา


วัณโรค รู้เร็ว อยู่ด้วยกันได้ รักษาหายขาดแน่นอน |ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาปฏิบัติตัวอย่างไร | กองสุขศึกษา

วัณโรค เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium ซึ่งมีหลายชนิด เชื้อที่พบบ่อยที่สุดและเป็นปัญหาในประเทศไทย คือ เชื้อ Mycobacterium tuberculosis วัณโรคเกิดได้ในทุกอวัยวะของร่างกาย ส่วนใหญ่มักเกิดที่ปอดพบร้อยละ 80 ส่วนวัณโรคนอกปอดเป็นผลมาจากการแพร่กระจายของการติดเชื้อไปยังอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ เยื้อหุ้มปอด ต่อมน้ำเหลือง กระดูกสันหลัง ข้อต่อ ช่องท้อง ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบสืบพันธุ์ ระบบประสาท เป็นต้น

การแพร่กระจายวัณโรคปอด
เชื้อวัณโรคจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลม หรือกล่องเสียงของผู้ป่วยวัณโรค เมื่อผู้ป่วยไอจามพูดดังๆ ตะโกน หัวเราะ หรือร้องเพลง เชื้อเหล่านี้จะอยู่ในละอองฝอยของเสมหะที่ออกมาสู่อากาศ อนุภาคของละอองฝอยขนาดใหญ่มักตกลงพื้นและแห้ไป เหลือส่วนที่เล็กที่สุดที่มีเชื้อวัณโรคจะลอยอยู่ในอากาศได้หลายชั่วโมง และถูกทำลายโดยแสงแดด

อาการสงสัยวัณโรคปอด
อาการที่สำคัญของวัณโรคปอด คือ ไอเรื้อรังนาน 2 สัปดาห์ขึ้นไป
อาการอื่นๆ ที่อาจพบได้ น้ำหนักลด เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย มีไข้ (มักจะเป็นตอนบ่าย เย็น หรือตอนกลางคืน) ไอมีเลือดปน เจ็บหน้าอก หายใจขัด
ถ้ามีอาการอย่างน้อย 2 อาการขึ้นไป รีบตรวจหาวัณโรคที่สาถานพยาบาลใกล้บ้าน

กลุ่มเสี่ยงติดเชื้อวัณโรค
ผู้อาศัยร่วมบ้านผู้ป่วยวัณโรค
ผู้ป่วยเบาหวาน
ผู้ติดเชื้อ HIV
ผู้สูงอายุ

การป้องกันโรค
ดูแลสุขภาพออกกำลังกายให้แข็งแรง
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ตรวจการทำงานของปอด
ตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อคัดกรองโรค โดยเฉพาะผู้สัมผัสผู้ป่วยใกล้ชิด บุคลากรทางการแพทย์
เลี่ยงการคลุกคลีใกล้ชิดผู้ป่วยวัณโรค
หากมีอาการน่าสงสัยว่าจะเป็นวัณโรค ควรรีบไปพบแพทย์

วัณโรครักษาหายได้
ปัจจุบันมียารักษาวัณโรคที่มีประสิทธิภาพสูง
กินยาต่อหน้าผู้ดูแล…ให้ครบทุกมื้อ ครบทุกเม็ด…ป้องกันไม่ดื้อยา
ใช้เวลาในการรักษา 68 เดือน
มีพี่เลี้ยงดูแลการกินยาจนครบการรักษา
ไม่หยุดยาเองหากมีอาการแพ้ยา ควรรีบปรึกษาแพทย์ง
วัณโรค วัณโรคดื้อยา กองสุขศึกษา

เกือบตายเพราะโรควัณโรคดื้อยา  |ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาปฏิบัติตัวอย่างไร | กองสุขศึกษา

การกรอกแบบฟอร์มบริจาคโลหิตสำคัญอย่างไร?


การกรอกแบบฟอร์มบริจาคโลหิต เป็นหนึ่งในขั้นตอนที่สำคัญในการบริจาคโลหิต ผู้บริจาคโลหิตต้องคัดกรองสุขภาพด้วยตนเองและกรอกข้อมูลตามความเป็นจริง เพื่อให้ได้โลหิตที่มีความปลอดภัยทั้งต่อผู้บริจาคโลหิตเองและผู้ป่วยได้ที่รับโลหิต

การกรอกแบบฟอร์มบริจาคโลหิตสำคัญอย่างไร?

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Sales experience

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *