Skip to content

ทฤษฎีสังคมวิทยา | ทฤษฎีสังคมวิทยา

ทฤษฎีสังคมวิทยา


นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม

หนังสือทฤษฎีสังคมวิทยา
สมาชิก
ผู้จัดทำ
นางสาวเจนจิรา หาญทนง 574110109
นางสาวเนตรนภา คำหอมกุล 574110122
นางสาวณัชชา มีครองแบ่ง 574110140
นางสาวศิริธร นรสิทธิ์ 574110151
นางสาวศุภัทรา บุรงค์ 574110164
นางสาวอัมรัตน์ เชื้องาม 574110184
นางสาวณัฐิดา กลั่นสระน้อย 574110186
57/6

ทฤษฎีสังคมวิทยา

สังคมศึกษา การ์ตูน เรื่อง นกขมิ้นกับลิงพาล


รับชมเพิ่มเติมได้ทาง
www.obectv.tv

สังคมศึกษา การ์ตูน เรื่อง นกขมิ้นกับลิงพาล

บทที่1 ความสำคัญของบริบททางสังคม


บทที่1 ความสำคัญของบริบททางสังคม

\”ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน\” | ทฤษฎี 8 ขั้น ที่ช่วยให้เข้าใจชีวิต


ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Erikson’s theory of psychosocial development) ได้แบ่งการพัฒนาของคนไว้ 8 ระยะ ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยในแต่ละระยะ มนุษย์มีความต้องการและตั้งคำถามแตกต่างกัน อีกทั้งยังต้องพบปะผู้คนที่จะเข้ามามีบทบาทต่อพฤติกรรมและการเรียนรู้ของเราต่างกันด้วย
[0:18]
1) ความไว้วางใจ ความไม่ไว้วางใจขั้นพื้นฐานของทารก (12 ปี)
(Basic Trust vs. Mistrust, Infancy)
[0:51]
2) ความเป็นตัวของตัวเองอย่างอิสระ ความละอายและความสงสัยในตัว
เองของเด็กปฐมวัย (24 ปี)
(Autonomy vs. Shame \u0026 Doubt, Early childhood)
[1:23]
3) การเป็นผู้ริเริ่ม ความรู้สึกผิดของเด็กวัยก่อนเข้าโรงเรียน (45 ปี)
(Initiative vs. Guilt, Preschool Age)
[1:59]
4) ความพากเพียรอุตสาหะ ความรู้สึกอ่อนด้อยในเด็กวัยเรียน (512 ปี)
(Industry vs. Inferiority, School Age)
[2:36]
5) การสร้างอัตลักษณ์ ความสับสนในหน้าที่ในสังคมในช่วงวัยรุ่น (1319
ปี) (Identity vs. Role Confusion, Adolescence)
[3:14]
6) ความใกล้ชิดผูกพัน ความอ้างว้างโดดเดี่ยวในช่วงวัยทำงาน (2040 ปี)
(Intimacy vs. Isolation, Early Adulthood)
[3:51]
7) การถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลัง ความคิดถึงแต่ตนเอง (4065 ปี)
(Generativity vs. Stagnation Adulthood)
[4:32]
8) ความพอใจในตนเอง – ความสิ้นหวัง (65 ปีเป็นต้นไป)
(Ego Integrity vs. Despair, Maturity)

เรียนออนไลน์ \”คอร์สเศรษฐศาสตร์\” ฟรี! ได้ที่
https://tryfaildo.com
และติดตามข่าวสารดีๆจาก Sprouts ได้ที่เพจ
https://www.facebook.com/sproutsschool
หากต้องการสนับสนุนเรา สามารถเข้าไปที่ลิ้งค์
https://www.patreon.com/sprouts

\

\”การคิดเชิงออกแบบ\” | แนวทางการแก้ปัญหาแบบใหม่


การคิดเชิงออกแบบ หรือ Design Thinking คือกระบวนการ 5 ขั้นตอน ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การคิดหาวิธีแก้ปัญหาให้กับคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
สถาบันสอนการออกแบบและสถาบันธุรกิจชั้นนำทั่วโลกต่างนำกระบวนการนี้ไปสอนให้แก่นักเรียน กระบวนการนี้ได้ช่วยสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าให้แก่ผู้ประกอบการทั่วโลกมากมาย เพราะนี่ถือเป็นแนวทางแก้ปัญหาแบบใหม่
0:25 ขั้นที่ 1: ใจเขาใจเรา (Empathize)
0:57 ขั้นที่ 2: ระบุปัญหา (Define the Problem)
1:29 ขั้นที่ 3: ระดมความคิด (Ideate)
1:58 ขั้นที่ 4: สร้างต้นแบบ (Prototype)
2:24 ขั้นที่ 5: ทดสอบ (Test)
หลักสูตรเร่งลัดสำหรับการคิดเชิงออกแบบ
(Design Thinking Crash Course)
https://dschool.stanford.edu/resources/virtualcrashcoursevideo
สำหรับผู้ดำเนินหลักสูตร (For Facilitators)
https://dschool.stanford.edu/resources/gearuphowtokickoffacrashcourse

เรียนออนไลน์ \”คอร์สความคิดสร้างสรรค์\” ฟรี! ได้ที่
https://tryfaildo.com
และติดตามข่าวสารดีๆจาก Sprouts ได้ที่เพจ
https://www.facebook.com/sproutsschool
หากต้องการสนับสนุนเรา สามารถเข้าไปที่ลิ้งค์
https://www.patreon.com/sprouts

\

นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูวิธีอื่นๆSales experience

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *